หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
กลุ่มวิชานวัตกรรมการจัดการ

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาวิชาบริหารธุรกิจ

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมีปณิธานมุ่งมั่นที่จะพัฒนามหาบัณฑิตให้เป็นผู้มีความรู้ ความเข้าใจอย่างเหมาะสมลึกซึ้งในองค์ความรู้รอบด้านทางธุรกิจ เน้นการพัฒนามหาบัณฑิตให้มีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาและรู้วิธีแก้ไขปัญหาด้วยการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทันเวลา ทันต่อเหตุการณ์ มีความพร้อมในการเป็นผู้นำ(Leadership) ซึ่งมีความสามารถทั้งด้านการจัดการ การบริหารงานและมีศักยภาพในการปรับตัวเพื่อก้าวไปสู่การแข่งขันในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนเน้นการมีคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ มีวิสัยทัศน์ และมีความสามารถในการบูรณาการเพื่อพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน

‎จุดเด่นสาขาวิชา​
  1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางบริหารธุรกิจที่มีความรู้ ความสามารถและมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อผลิตผู้ประกอบการทางธุรกิจหรือผู้บริหารระดับกลางจนถึงระดับสูงในองค์กรทั้งในภาคเอกชน และภาครัฐที่มีความรู้ ความสามารถทั้งในด้านวิชาการ และประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจมีภาวะผู้นำ สามารถคิดอย่างเป็นระบบทั้งในเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับสภาพสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทยได้อย่างเหมาะสม
  3. เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการทางธุรกิจหรือผู้บริหารในการคิดเชิงวิเคราะห์ มีความพร้อมและศักยภาพของการเป็นนักธุรกิจที่ประกอบด้วยคุณธรรม จริยธรรมและความรู้ สามารถแสวงหาความก้าวหน้าทางวิชาการ และการวิจัยทางการบริหารธุรกิจ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ในการประกอบอาชีพและให้บริการทางวิชาการแก่สังคมได้กว้างขวางยิ่งขึ้น
  4. เพื่อเสริมสร้างให้เป็นนักธุรกิจ ผู้ประกอบการ ที่มีคุณธรรม มีจริยธรรมในการประกอบอาชีพ มีความรับผิดชอบต่อสังคม และมีความสามารถในการบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาธุรกิจที่ยั่งยืน
โครงสร้างรายวิชา
1. รหัสและชื่อหลักสูตรว่าง
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย:หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ:Master of Business Administration Program
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทยชื่อเต็มบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ชื่อย่อบธ.ม.
ภาษาอังกฤษชื่อเต็มMaster of Business Administration
ชื่อย่อ (อังกฤษ) :M.B.A.

จำนวนหน่วยกิต

แผน ก และแผน ข มีจำนวนหน่วยกิตรวม 36 หน่วยกิต

 

โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 2 แผน คือ แผน ก แบบ ก 2และ แผน ข โดยมีรายละเอียด ดังนี้

 

แผน ก มีจำนวนหน่วยกิต 36 หน่วยกิต และ

แผน ข มีจำนวนหน่วยกิต 36 หน่วยกิต

องค์ประกอบหลักสูตรแผน ก (แบบ ก 2)แผน ข
1. วิชาเสริมพื้นฐานไม่นับหน่วยกิตไม่นับหน่วยกิต
2. วิชาบังคับ1818
3. วิชาเลือกตามกลุ่มวิชา69
4. วิชาเลือกเสรี3
5. วิทยานิพนธ์12
6. การค้นคว้าอิสระ6

รวม

3636

– นักศึกษาที่เลือก แผน ก แบบ ก 2 ต้องสอบปากเปล่าเพื่อทดสอบความรู้ในการทำวิทยานิพนธ์
– นักศึกษาที่เลือกแผน ข ต้องลงทะเบียนเรียนวิชา บธ 561500 การค้นคว้าอิสระ (Independent Study) และสอบประมวลความรอบรู้ (Comprehensive Examination) ด้วยข้อเขียนและ/หรือการสอบปากเปล่า

 

1) วิชาเสริมพื้นฐาน นักศึกษาที่ต้องเรียนวิชาเสริมพื้นฐาน มหาวิทยาลัยจะไม่นับหน่วยกิต (Non-credit) และไม่นำไปคิดค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมเพื่อจบการศึกษา กรณีนักศึกษาที่จบปริญญาตรีสาขาอื่น ๆ แต่มีประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์โดยตรงกับลักษณะวิชาเสริมพื้นฐานใด คณะกรรมการคัดเลือกอาจยกเว้นการเรียนวิชาเสริมพื้นฐานนั้น ๆ ได้

 

2) กลุ่มวิชาบังคับ นักศึกษาจะต้องศึกษาวิชาบังคับ 6 รายวิชารวม 18 หน่วยกิต

 

3) กลุ่มวิชาเลือกลักษณะวิชาเลือกตามหลักสูตรประกอบด้วยวิชาเลือกตามกลุ่มวิชาต่าง ๆ ดังนี้

  1. กลุ่มวิชานวัตกรรมการจัดการ
  2. กลุ่มวิชาการตลาดสมัยใหม่
  3. กลุ่มการเงินและการลงทุน
  4. กลุ่มวิชาการบัญช
  5. กลุ่มวิชาการจัดการธุรกิจการบิน
  6. กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์โลกาภิวัตน์

นักศึกษาที่เลือกเรียนตามแผน ก. แบบ ก2 จะต้องเลือกศึกษาวิชาเลือกกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่ไม่ใช่วิชาเลือกเสรีอย่างน้อยหนึ่งกลุ่มวิชา โดยจะต้องเลือกศึกษา 2 รายวิชารวม 6 หน่วยกิต
นักศึกษาที่เลือกเรียนตามแผน ข. จะต้องเลือกศึกษาวิชาเลือกกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่ไม่ใช่กลุ่มวิชาเลือกเสรีอย่างน้อยหนึ่งกลุ่มวิชา โดยจะต้องเลือกศึกษา 3 รายวิชารวม 9 หน่วยกิต

 

4) กลุ่มวิชาเลือกเสรี ให้นักศึกษาที่เลือกเรียนตามแผน ข. จะต้องเลือกศึกษาวิชาใด ๆ ที่เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา หรือในกลุ่มวิชาเลือกต่าง ๆ โดยจะต้องเลือกศึกษา 1 รายวิชารวม 3 หน่วยกิต

คณาจารย์
รูปแบบการเรียนการสอน

1.1 ระบบ

 

เป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ

 

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

 

มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนทั้งนี้เป็นภาคการศึกษาที่ไม่บังคับ มีระยะเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ทั้งนี้ต้องมีชั่วโมงเรียนแต่ละรายวิชาเทียบเท่ากับชั่วโมงเรียนในภาคการศึกษาปกติ

 

1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค

 

ประกอบด้วย 3 ภาคเรียน คือ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 และภาคเรียนที่ 3 โดยจัดการเรียนให้มีจำนวนเดือนและสัปดาห์ที่เรียนเท่ากับระบบทวิภาค

ค่าใช้จ่ายของหลักสูตร

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรเหมาจ่ายทั้งหมด 150,000 บาท สามารถแบ่งชำระได้ 4 งวด ตามเงื่อนไขส่วนลด นอกจากนี้ในแต่ละงวดยังสามารถแบ่งจ่ายได้อีก 2 ครั้งตามความสะดวกของนักศึกษา โดยสามารถโอนเงินเข้าบัญชีมหาวิทยาลัยเกริกโดยตรง จ่ายชำระเป็นเงินสดที่ฝ่ายการเงินมหาวิทยาลัยเกริก หรือจ่ายผ่านบัตรเครดิต สำหรับค่าใช้จ่ายที่ผ่อนชำระในแต่ละงวดเป็นดังนี้

 

หลักสูตรการเรียนการสอนระยะเวลาในการเรียนค่าเทอมตลอดหลักสูตรหมายเหตุ

ค่าใช้จ่ายผ่อนชำระต่องวด

ค่าใช้จ่ายภายใต้เงื่อนไขตลอดหลักสูตรหลังส่วนลด
10%20%30%
งวดที่ 133,75031,87530,000
งวดที่ 233,75031,87530,000
งวดที่ 333,75031,87530,000
งวดที่ 433,75031,87530,000

รวม

135,000127,500120,000
กิจกรรมเสริมหลักสูตร
  1. กิจกรรมอบรมค่ายวิจัยเพื่อเสริมพื้นฐานการทำวิจัย ให้สามารถเข้าใจและทำการศึกษาวิจัยได้ง่ายขึ้น
  2. การศึกษาดูงานในประเทศไทย ในหน่วยงานที่ประสบความสำเร็จในแต่ละประเภทธุรกิจ
  3. กิจกรรมการปัจฉิมนิเทศ ปฐมนิเทศ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีร่วมกันระหว่างคณาจารย์ รุ่นพี่ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน
  4. กิจกรรมอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
ศิษย์เก่าดีเด่น
เล่าสู่กันฟัง
ช่องทางการติดต่อ

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาวิชาบริหารธุรกิจ

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
กลุ่มวิชานวัตกรรมการจัดการ

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มีปณิธานมุ่งมั่นที่จะพัฒนามหาบัณฑิตให้เป็นผู้มีความรู้ ความเข้าใจอย่างเหมาะสมลึกซึ้งในองค์ความรู้รอบด้านทางธุรกิจ เน้นการพัฒนามหาบัณฑิตให้มีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาและรู้วิธีแก้ไขปัญหาด้วยการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทันเวลา ทันต่อเหตุการณ์ มีความพร้อมในการเป็นผู้นำ(Leadership) ซึ่งมีความสามารถทั้งด้านการจัดการ การบริหารงานและมีศักยภาพในการปรับตัวเพื่อก้าวไปสู่การแข่งขันในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนเน้นการมีคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ มีวิสัยทัศน์ และมีความสามารถในการบูรณาการเพื่อพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎จุดเด่นสาขาวิชา

  1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางบริหารธุรกิจที่มีความรู้ ความสามารถและมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อผลิตผู้ประกอบการทางธุรกิจหรือผู้บริหารระดับกลางจนถึงระดับสูงในองค์กรทั้งในภาคเอกชน และภาครัฐที่มีความรู้ ความสามารถทั้งในด้านวิชาการ และประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจมีภาวะผู้นำ สามารถคิดอย่างเป็นระบบทั้งในเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับสภาพสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทยได้อย่างเหมาะสม
  3. เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการทางธุรกิจหรือผู้บริหารในการคิดเชิงวิเคราะห์ มีความพร้อมและศักยภาพของการเป็นนักธุรกิจที่ประกอบด้วยคุณธรรม จริยธรรมและความรู้ สามารถแสวงหาความก้าวหน้าทางวิชาการ และการวิจัยทางการบริหารธุรกิจ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ในการประกอบอาชีพและให้บริการทางวิชาการแก่สังคมได้กว้างขวางยิ่งขึ้น
  4. เพื่อเสริมสร้างให้เป็นนักธุรกิจ ผู้ประกอบการ ที่มีคุณธรรม มีจริยธรรมในการประกอบอาชีพ มีความรับผิดชอบต่อสังคม และมีความสามารถในการบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาธุรกิจที่ยั่งยืน

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎โครงสร้างรายวิชา

1. รหัสและชื่อหลักสูตรว่าง
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย:หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ:Master of Business Administration Program
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทยชื่อเต็มบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ชื่อย่อบธ.ม.
ภาษาอังกฤษชื่อเต็มMaster of Business Administration
ชื่อย่อ (อังกฤษ) :M.B.A.

จำนวนหน่วยกิต

แผน ก และแผน ข มีจำนวนหน่วยกิตรวม 36 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 2 แผน คือ แผน ก แบบ ก 2และ แผน ข โดยมีรายละเอียด ดังนี้ แผน ก มีจำนวนหน่วยกิต 36 หน่วยกิตและแผน ข มีจำนวนหน่วยกิต 36 หน่วยกิต

องค์ประกอบหลักสูตรแผน ก (แบบ ก 2)แผน ข
1. วิชาเสริมพื้นฐานไม่นับหน่วยกิตไม่นับหน่วยกิต
2. วิชาบังคับ1818
3. วิชาเลือกตามกลุ่มวิชา69
4. วิชาเลือกเสรี-3
5. วิทยานิพนธ์12-
6. การค้นคว้าอิสระ-6

รวม

3636

– นักศึกษาที่เลือก แผน ก แบบ ก 2 ต้องสอบปากเปล่าเพื่อทดสอบความรู้ในการทำวิทยานิพนธ์
– นักศึกษาที่เลือกแผน ข ต้องลงทะเบียนเรียนวิชา บธ 561500 การค้นคว้าอิสระ (Independent Study) และสอบประมวลความรอบรู้ (Comprehensive Examination) ด้วยข้อเขียนและ/หรือการสอบปากเปล่า

1) วิชาเสริมพื้นฐาน นักศึกษาที่ต้องเรียนวิชาเสริมพื้นฐาน มหาวิทยาลัยจะไม่นับหน่วยกิต (Non-credit) และไม่นำไปคิดค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมเพื่อจบการศึกษา กรณีนักศึกษาที่จบปริญญาตรีสาขาอื่น ๆ แต่มีประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์โดยตรงกับลักษณะวิชาเสริมพื้นฐานใด คณะกรรมการคัดเลือกอาจยกเว้นการเรียนวิชาเสริมพื้นฐานนั้น ๆ ได้
2) กลุ่มวิชาบังคับ นักศึกษาจะต้องศึกษาวิชาบังคับ 6 รายวิชารวม 18 หน่วยกิต
3) กลุ่มวิชาเลือกลักษณะวิชาเลือกตามหลักสูตรประกอบด้วยวิชาเลือกตามกลุ่มวิชาต่าง ๆ ดังนี้

  1. กลุ่มวิชานวัตกรรมการจัดการ
  2. กลุ่มวิชาการตลาดสมัยใหม่
  3. กลุ่มการเงินและการลงทุน
  4. กลุ่มวิชาการบัญชี
  5. กลุ่มวิชาการจัดการธุรกิจการบิน
  6. กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์โลกาภิวัตน์

นักศึกษาที่เลือกเรียนตามแผน ก. แบบ ก2 จะต้องเลือกศึกษาวิชาเลือกกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่ไม่ใช่วิชาเลือกเสรีอย่างน้อยหนึ่งกลุ่มวิชา โดยจะต้องเลือกศึกษา 2 รายวิชารวม 6 หน่วยกิต
นักศึกษาที่เลือกเรียนตามแผน ข. จะต้องเลือกศึกษาวิชาเลือกกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่ไม่ใช่กลุ่มวิชาเลือกเสรีอย่างน้อยหนึ่งกลุ่มวิชา โดยจะต้องเลือกศึกษา 3 รายวิชารวม 9 หน่วยกิต

4) กลุ่มวิชาเลือกเสรี ให้นักศึกษาที่เลือกเรียนตามแผน ข. จะต้องเลือกศึกษาวิชาใด ๆ ที่เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา หรือในกลุ่มวิชาเลือกต่าง ๆ โดยจะต้องเลือกศึกษา 1 รายวิชารวม 3 หน่วยกิต

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎คณาจารย์

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎รูปแบบการเรียนการสอน

1.1 ระบบ

เป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนทั้งนี้เป็นภาคการศึกษาที่ไม่บังคับ มีระยะเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ทั้งนี้ต้องมีชั่วโมงเรียนแต่ละรายวิชาเทียบเท่ากับชั่วโมงเรียนในภาคการศึกษาปกติ

1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค

ประกอบด้วย 3 ภาคเรียน คือ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 และภาคเรียนที่ 3 โดยจัดการเรียนให้มีจำนวนเดือนและสัปดาห์ที่เรียนเท่ากับระบบทวิภาค

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ค่าใช้จ่ายของหลักสูตร

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรเหมาจ่ายทั้งหมด 150,000 บาท สามารถแบ่งชำระได้ 4 งวด ตามเงื่อนไขส่วนลด นอกจากนี้ในแต่ละงวดยังสามารถแบ่งจ่ายได้อีก 2 ครั้งตามความสะดวกของนักศึกษา โดยสามารถโอนเงินเข้าบัญชีมหาวิทยาลัยเกริกโดยตรง จ่ายชำระเป็นเงินสดที่ฝ่ายการเงินมหาวิทยาลัยเกริก หรือจ่ายผ่านบัตรเครดิต สำหรับค่าใช้จ่ายที่ผ่อนชำระในแต่ละงวดเป็นดังนี้

หลักสูตรการเรียนการสอนระยะเวลาในการเรียนค่าเทอมตลอดหลักสูตรหมายเหตุ

ค่าใช้จ่ายผ่อนชำระต่องวด

ค่าใช้จ่ายภายใต้เงื่อนไขตลอดหลักสูตรหลังส่วนลด
10%20%30%
งวดที่ 133,75031,87530,000
งวดที่ 233,75031,87530,000
งวดที่ 333,75031,87530,000
งวดที่ 433,75031,87530,000

รวม

135,000127,500120,000

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎กิจกรรมเสริมหลักสูตร

  1. กิจกรรมอบรมค่ายวิจัยเพื่อเสริมพื้นฐานการทำวิจัย ให้สามารถเข้าใจและทำการศึกษาวิจัยได้ง่ายขึ้น
  2. การศึกษาดูงานในประเทศไทย ในหน่วยงานที่ประสบความสำเร็จในแต่ละประเภทธุรกิจ
  3. กิจกรรมการปัจฉิมนิเทศ ปฐมนิเทศ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีร่วมกันระหว่างคณาจารย์ รุ่นพี่ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน
  4. กิจกรรมอื่น ๆ ตามความเหมาะสม

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ศิษย์เก่าดีเด่น

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎เล่าสู่กันฟัง

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ช่องทางการติดต่อ

เรียนภาษาจีนฟรี ได้ที่มหาวิทยาลัยเกริก

ได้ทั้งความรู้ ประสบการณ์ และทักษะวิชาชีพ 

เรียนภาษาจีนฟรี ได้ที่มหาวิทยาลัยเกริก

ได้ทั้งความรู้ ประสบการณ์ และทักษะวิชาชีพ 

Scroll to Top