หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ

         หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ ได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรเมื่อปีพ.ศ.2555 และในปีการศึกษา 2560 คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรจึงทำการปรับปรุงหลักสูตรอีกครั้งเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF : HEd) พ.ศ.2552 และเพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมทั้งสนองต่อความต้องการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว หลักสูตรฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตเป็นนักปฏิบัติที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสม ปฏิบัติงานได้จริง มีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม

‎จุดเด่นสาขาวิชา​

         หลักสูตรฯ ตระหนักถึงบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่งของศาสตร์ด้านวิทยาการข้อมูล การวิเคราะห์เชิงธุรกิจและการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ที่มีผลต่อศักยภาพการแข่งขันขององค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับชาติและนานาชาติ อันส่งผลต่อเนื่องไปยังการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระดับมหภาพ ด้วยการรวมรวบข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ซับซ้อน และจำนวนมาก (Big data) มาผ่านกระบวนการสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์และพยากรณ์แนวโน้มธุรกิจได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นเครื่องมือสำคัญในการตัดสินใจของผู้บริหาร ในการวางแผน ควบคุม ปรับปรุงกระบวนการทำงาน และแก้ปัญหาขององค์กรให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย และบรรลุประสิทธิผลสูงสุด

 

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องจัดเตรียมบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านวิทยาการข้อมูล การวิเคราะห์เชิงธุรกิจ และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เพื่อรองรับความต้องการของตลาดแรงงาน และการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ มีทักษะความชำนาญทั้งในระดับพื้นฐานและในระดับสูง มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความพร้อมในการทำงาน ที่สามารถตอบสนองความต้องการขององค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

โครงสร้างรายวิชา
1. รหัสและชื่อหลักสูตรว่าง
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย:หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ไทย):บริหารธุรกิจบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ)
ชื่อย่อ (ไทย):บธ.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ):Bachelor of Business Administration (Information Technology and Management)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) :B.B.A. (Information Technology and Management)

มีการปรับปรุงใหม่ ในปี 2564
การศึกษาตามหลักสูตรนักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนวิชาต่างๆ ไม่น้อยกว่า 123 หน่วยกิต

ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

 

หมวดวิชาหน่วยกิต
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30

1.1 กลุ่มวิชาภาษา

12

1.2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

6

1.3 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

6

1.4 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

2. หมวดวิชาเฉพาะ87

2.1 วิชาเฉพาะด้าน

63

2.1.1 ทักษะภาษา

48

2.1.2 สาระความรู้

15

2.2 วิชาเลือก

24

3.หมวดวิชาเลือกเสรีเรียนไม่น้อยกว่า6
 
คณาจารย์
หลักสูตรเหมาะกับใคร

‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องพัฒนาตนเพื่อเสริมสร้างฐานความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ อาทิเช่น วิทยาการข้อมูล การวิเคราะห์เชิงธุรกิจ และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เพื่อพัฒนาองค์กรให้เจริญรุดหน้า และสามารถแข่งขันได้อย่างมีคุณภาพ คณะบริหารธุรกิจ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ มหาวิทยาลัยเกริก ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นหลักสูตรนอกเวลาราชการ เพื่อเปิดโอกาสทางการศึกษาให้บัณฑิตไม่จำกัดสาขาวิชาได้พัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ ด้วยการเรียนรู้ควบคู่กับการทำงาน เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติงานจริงในหน่วยงานของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
  1. นักเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
  2. นักวิทยาการข้อมูล (Data Scientist)
  3. นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst)
  4. นักวิเคราะห์ธุรกิจ (Business Analyst)
  5. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
  6. นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer)
  7. ผู้เชี่ยวชาญด้านอัจฉริยะทางธุรกิจ (BI Specialist)
  8. นักพัฒนาด้านอัจฉริยะทางธุรกิจ (BI Developer)
  9. ผู้บริหารข้อมูล (Data Administrator)
  10. ผู้ดูแลฐานข้อมูล (Database Administrator)
  11. ผู้เชี่ยวชาญฐานข้อมูล (Database Specialist)
  12. ผู้ดูแลระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย (Network Administrator)
  13. ผู้ดูแลความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security)
  14. ผู้บริหารข้อมูล (Data Administrator)
  15.  
ค่าใช้จ่ายของหลักสูตร
  • ค่าใช้จ่ายในการเรียนภาคปกติ แบบเหมาจ่าย ปีละ 60,000 บาท รวมภาคฤดูร้อน
  • ค่าใช้จ่ายในการเรียน เสาร์-อาทิตย์ คิดตามหน่วยกิตที่ลงทะเบียน ดังนี้
หลักสูตรการเรียนการสอนระยะเวลาในการเรียนค่าเทอมตลอดหลักสูตรหมายเหตุ
1. ภาคปกติ จันทร์ – ศุกร์4 ปี (แบ่งเป็น 8 เทอม)240,000 บาท คิดเป็นต่อเทอม = 30,000 บาทแบบเหมาจ่าย ปีละ 60000 บาท รวมภาคฤดูร้อน
2. ภาคปกติเรียนวันเสาร์-วันอาทิตย์1 ปีครึ่ง ขึ้นไปคิดเป็นหน่วยกิต หน่วยกิตละ 1,300 บาทขึ้นอยู่กับจำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอน

ภาคปกติ

สำหรับผู้จบม. 6 / กศนกำหนด 6 / ปวช. / ปวส.

  • ค่าเหมาเหมาจ่ายละ 30,000 บาท
    พิเศษสำหรับนักศึกษาใหม่ปี 64 รับส่วนลด 10% ตลอดหลักสูตร
  • หากมีคะแนนสูงมากกว่า 3.00 มีข้อเสนอเพิ่มอีก
    จบได้สามปีทวิ
  • มีหอพักให้อยู่ฟรี 1 ปี
  • สิทธิพิเศษอื่น ๆ อีกมากมาย
  • มีค่าเล่าเรียนตามสายของมหาวิทยาลัย

ภาคปกติ(วันเสาร์ – อาทิตย์)

  • คิดเป็นหน่วยกิตหน่วยกิต ละ 1,300 บาท
  • สามารถโอนหน่วยกิตได้
  • จำนวนปีที่จะสำเร็จการศึกษาและค่าใช้จ่ายขึ้นอยู่กับผลการศึกษาของนักศึกษาแต่ละคน

สำหรับผู้จบปวส. 

  • สามารถโอนหน่วยกิตได้
  • จบการศึกษาได้ภายใน 18 เดือน
 
รูปแบบการเรียนการสอน

กระบวนการจัดการศึกษาด้วยการให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมได้รับประสบการณ์ตรง เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ และสิ่งประดิษฐ์ใหม่โดยการใช้กระบวนกระบวนการคิด กระบวนการระดมสมอง ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาความคิดวิเคราะห์ เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ได้

 

        การจัดการเรียน การสอน มีทั้ง ภาคปกติ และเสาร์ อาทิตย์

กิจกรรมเสริมหลักสูตร
ช่องทางการติดต่อ

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ

          หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ ได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรเมื่อปีพ.ศ.2555 และในปีการศึกษา 2560 คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรจึงทำการปรับปรุงหลักสูตรอีกครั้งเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF : HEd) พ.ศ.2552 และเพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมทั้งสนองต่อความต้องการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว หลักสูตรฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตเป็นนักปฏิบัติที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสม ปฏิบัติงานได้จริง มีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎จุดเด่นสาขาวิชา

          หลักสูตรฯ ตระหนักถึงบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่งของศาสตร์ด้านวิทยาการข้อมูล การวิเคราะห์เชิงธุรกิจ และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ที่มีผลต่อศักยภาพการแข่งขันขององค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับชาติและนานาชาติ อันส่งผลต่อเนื่องไปยังการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระดับมหภาพ ด้วยการรวมรวบข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ซับซ้อน และจำนวนมาก (Big data) มาผ่านกระบวนการสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์และพยากรณ์แนวโน้มธุรกิจได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นเครื่องมือสำคัญในการตัดสินใจของผู้บริหาร ในการวางแผน ควบคุม ปรับปรุงกระบวนการทำงาน และแก้ปัญหาขององค์กรให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย และบรรลุประสิทธิผลสูงสุด

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องจัดเตรียมบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านวิทยาการข้อมูล การวิเคราะห์เชิงธุรกิจ และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เพื่อรองรับความต้องการของตลาดแรงงาน และการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ มีทักษะความชำนาญทั้งในระดับพื้นฐานและในระดับสูง มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความพร้อมในการทำงาน ที่สามารถตอบสนองความต้องการขององค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎โครงสร้างรายวิชา

1. รหัสและชื่อหลักสูตรว่าง
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย:หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ไทย):บริหารธุรกิจบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ)
ชื่อย่อ (ไทย):บธ.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ):Bachelor of Business Administration (Information Technology and Management)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) :B.B.A. (Information Technology and Management)

มีการปรับปรุงใหม่ ในปี 2564
การศึกษาตามหลักสูตรนักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนวิชาต่างๆ ไม่น้อยกว่า 123 หน่วยกิต

ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

หมวดวิชาหน่วยกิต
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30

1.1 กลุ่มวิชาภาษา

12

1.2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

6

1.3 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

6

1.4 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

2. หมวดวิชาเฉพาะ87

2.1 วิชาเฉพาะด้าน

63

2.1.1 ทักษะภาษา

48

2.1.2 สาระความรู้

15

2.2 วิชาเลือก

24

3.หมวดวิชาเลือกเสรีเรียนไม่น้อยกว่า6

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎คณาจารย์

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎หลักสูตรเหมาะกับใคร

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องพัฒนาตนเพื่อเสริมสร้างฐานความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ อาทิเช่น วิทยาการข้อมูล การวิเคราะห์เชิงธุรกิจ และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เพื่อพัฒนาองค์กรให้เจริญรุดหน้า และสามารถแข่งขันได้อย่างมีคุณภาพ คณะบริหารธุรกิจ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ มหาวิทยาลัยเกริก ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นหลักสูตรนอกเวลาราชการ เพื่อเปิดโอกาสทางการศึกษาให้บัณฑิตไม่จำกัดสาขาวิชาได้พัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ ด้วยการเรียนรู้ควบคู่กับการทำงาน เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติงานจริงในหน่วยงานของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • นักเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
  • นักวิทยาการข้อมูล (Data Scientist)
  • นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst)
  • นักวิเคราะห์ธุรกิจ (Business Analyst)
  • นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
  • นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer)
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านอัจฉริยะทางธุรกิจ (BI Specialist)
  • นักพัฒนาด้านอัจฉริยะทางธุรกิจ (BI Developer)
  • ผู้บริหารข้อมูล (Data Administrator)
  • ผู้ดูแลฐานข้อมูล (Database Administrator)
  • ผู้เชี่ยวชาญฐานข้อมูล (Database Specialist)
  • ผู้ดูแลระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย (Network Administrator)
  • ผู้ดูแลความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security)
  • ผู้บริหารข้อมูล (Data Administrator)

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ค่าใช้จ่ายของหลักสูตร

  • ค่าใช้จ่ายในการเรียนภาคปกติ แบบเหมาจ่าย ปีละ 60,000 บาท รวมภาคฤดูร้อน
  • ค่าใช้จ่ายในการเรียน เสาร์-อาทิตย์ คิดตามหน่วยกิตที่ลงทะเบียน ดังนี้
หลักสูตรการเรียนการสอนระยะเวลาในการเรียนค่าเทอมตลอดหลักสูตรหมายเหตุ
1. ภาคปกติ จันทร์ - ศุกร์4 ปี (แบ่งเป็น 8 เทอม)240,000 บาท คิดเป็นต่อเทอม = 30,000 บาทแบบเหมาจ่าย ปีละ 60000 บาท รวมภาคฤดูร้อน
2. ภาคปกติเรียนวันเสาร์-วันอาทิตย์1 ปีครึ่ง ขึ้นไปคิดเป็นหน่วยกิต หน่วยกิตละ 1,300 บาทขึ้นอยู่กับจำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอน
  • ภาคปกติ

    สำหรับผู้จบม. 6 / กศนกำหนด 6 / ปวช. / ปวส.

    • ค่าเหมาเหมาจ่ายละ 30,000 บาท
      พิเศษสำหรับนักศึกษาใหม่ปี 64 รับส่วนลด 10% ตลอดหลักสูตร
    • หากมีคะแนนสูงมากกว่า 3.00 มีข้อเสนอเพิ่มอีก
      จบได้สามปีทวิ
    • มีหอพักให้อยู่ฟรี 1 ปี
    • สิทธิพิเศษอื่น ๆ อีกมากมาย
    • มีค่าเล่าเรียนตามสายของมหาวิทยาลัย

    ภาคปกติ(วันเสาร์ – อาทิตย์)

    • คิดเป็นหน่วยกิตหน่วยกิต ละ 1,300 บาท
    • สามารถโอนหน่วยกิตได้
    • จำนวนปีที่จะสำเร็จการศึกษาและค่าใช้จ่ายขึ้นอยู่กับผลการศึกษาของนักศึกษาแต่ละคน

    สำหรับผู้จบปวส. 

    • สามารถโอนหน่วยกิตได้
    • จบการศึกษาได้ภายใน 18 เดือน

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎รูปแบบการเรียนการสอน

กระบวนการจัดการศึกษาด้วยการให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมได้รับประสบการณ์ตรง เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ และสิ่งประดิษฐ์ใหม่โดยการใช้กระบวนกระบวนการคิด กระบวนการระดมสมอง ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาความคิดวิเคราะห์ เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ได้

        การจัดการเรียน การสอน มีทั้ง ภาคปกติ และเสาร์ อาทิตย์

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎กิจกรรมนักศึกษา

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ช่องทางการติดต่อ

เรียนภาษาจีนฟรี ได้ที่มหาวิทยาลัยเกริก

ได้ทั้งความรู้ ประสบการณ์ และทักษะวิชาชีพ 

เรียนภาษาจีนฟรี ได้ที่มหาวิทยาลัยเกริก

ได้ทั้งความรู้ ประสบการณ์ และทักษะวิชาชีพ 

Scroll to Top