หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชนระหว่างประเทศ
(ระบบการศึกษาทางไกล)

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนเป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญที่จะช่วยในการวางแผน สนับสนุน การควบคุมทิศทางการไหลเวียนของกิจกรรมต่างๆของสินค้าและบริการซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การจัดการคลังสินค้า บริหารต้นทุน การขนส่ง ไปจนถึงมือผู้บริโภคหรือผู้ใช้ปลายทางคนสุดท้าย

‎จุดเด่นสาขาวิชา​

‎‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ปัจจุบันอุตสาหกรรมด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจระหว่างประเทศ ในอนาคตธุรกิจโลจิสติกส์จะเป็นธุรกิจที่เชื่อมโยงซัพพลายเชนที่ใหญ่ระดับโลก แต่ในขณะเดียวกันการกระจายสินค้าที่เล็กลงยิ่งมีความสำคัญมากขึ้น โดยที่เน้นเรียนตามความต้องการของสถานประกอบการ ร่วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนารายวิชาเรียน เน้นภาคปฏิบัติ เพื่อให้ออกไปทำงานได้ทันที

โครงสร้างรายวิชา

‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 124 หน่วยกิต

 

หมวดวิชาหน่วยกิต
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30

1.1 กลุ่มสาระวิชาภาษาและการสื่อสาร

12

1.2 กลุ่มสาระวิชาการคิดคำนวณ และวิทยาศาสตร์และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

6

1.3 กลุ่มสาระวิชาทักษะการพัฒนาการเป็นผู้เรียนรู้

6

1.4 กลุ่มสาระวิชาทักษะการเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ

6

1.5 กลุ่มสาระวิชาเลือกศึกษาเรียนรู้

เลือกเรียนตามความสนใจ
2. หมวดวิชาเฉพาะ88

2.1 วิชาแกนธุรกิจ

30

2.2 วิชาเอกบังคับ

42

2.3 วิชาเอกเลือก

9

2.4 วิชาพื้นฐานวิชาชีพและวิชาชีพ

7

3.หมวดวิชาเลือกเสรี6
แผนการศึกษา
คณาจารย์
หลักสูตรเหมาะกับใคร
‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ทุกอาชีพต้องใช้หลักวิชาโลจิสติกส์ ที่เด่นชัดคือ ขนส่งสินค้า คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า การนำเข้าส่งออกสินค้า และโรงงานอุตสาหกรรม
อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
  • ตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ(Freight Forwarder)
  • เจ้าหน้าที่วางแผนการผลิต (Production Planning Officer)
  • เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ (Purchasing) เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดหา (Procurement) 
  • นักวิเคราะห์โลจิสติกส์ (Logistics Analyst)
  • เจ้าหน้าที่ประสานงานขนส่ง (Logistics Coordinator) 
  • เข้ารับราชการ เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี , กรมการขนส่งทางบก, กรมศุลกากร
ค่าใช้จ่ายของหลักสูตร

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ สอบถามผ่านช่องทางติดต่อ

รูปแบบการเรียนการสอน

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎จัดการเรียนการสอนแบบระบบการศึกษาทางไกล (ปีการศึกษา 1 /2564)

ช่องทางการติดต่อ
‎จุดเด่นสาขาวิชา​

‎‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ปัจจุบันอุตสาหกรรมด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจระหว่างประเทศ ในอนาคตธุรกิจโลจิสติกส์จะเป็นธุรกิจที่เชื่อมโยงซัพพลายเชนที่ใหญ่ระดับโลก แต่ในขณะเดียวกันการกระจายสินค้าที่เล็กลงยิ่งมีความสำคัญมากขึ้น โดยที่เน้นเรียนตามความต้องการของสถานประกอบการ ร่วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนารายวิชาเรียน เน้นภาคปฏิบัติ เพื่อให้ออกไปทำงานได้ทันที

โครงสร้างรายวิชา

‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 124 หน่วยกิต

 

หมวดวิชาหน่วยกิต
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30

1.1 กลุ่มสาระวิชาภาษาและการสื่อสาร

12

1.2 กลุ่มสาระวิชาการคิดคำนวณ และวิทยาศาสตร์และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

6

1.3 กลุ่มสาระวิชาทักษะการพัฒนาการเป็นผู้เรียนรู้

6

1.4 กลุ่มสาระวิชาทักษะการเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ

6

1.5 กลุ่มสาระวิชาเลือกศึกษาเรียนรู้

เลือกเรียนตามความสนใจ
2. หมวดวิชาเฉพาะ88

2.1 วิชาแกนธุรกิจ

30

2.2 วิชาเอกบังคับ

42

2.3 วิชาเอกเลือก

9

2.4 วิชาพื้นฐานวิชาชีพและวิชาชีพ

7

3.หมวดวิชาเลือกเสรี6
แผนการศึกษา
คณาจารย์
หลักสูตรเหมาะกับใคร
‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ทุกอาชีพต้องใช้หลักวิชาโลจิสติกส์ ที่เด่นชัดคือ ขนส่งสินค้า คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า การนำเข้าส่งออกสินค้า และโรงงานอุตสาหกรรม
อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
  • ตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ(Freight Forwarder)
  • เจ้าหน้าที่วางแผนการผลิต (Production Planning Officer)
  • เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ (Purchasing) เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดหา (Procurement) 
  • นักวิเคราะห์โลจิสติกส์ (Logistics Analyst)
  • เจ้าหน้าที่ประสานงานขนส่ง (Logistics Coordinator) 
  • เข้ารับราชการ เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี , กรมการขนส่งทางบก, กรมศุลกากร
ค่าใช้จ่ายของหลักสูตร

ค่าใช้จ่าย สำหรับหลักสูตรแบบการศึกษาทางไกล (Online) แบ่งเป็น

 

  • ผู้ที่จบ ม. 6 หรือ ปวช. เหมาจ่าย ตลอดหลักสูตร 138,000 บาท
  • ผู้ที่จบ ปวส. หรือปริญญาตรีใบที่ 2 เหมาจ่ายตลอดหลักสูตร 78,000 บาท

สำหรับผู้ที่จบการศึกษาระดับ ม.6 และ ปวช.​

ชั้นปีที่ภาคต้นภาคปลายภาคฤดูร้อนรวมหน่วยกิตรวมค่าใช้จ่ายแบ่งชำระรายเดือน
118 หน่วยกิต (19,250 บาท)18 หน่วยกิต (19,250 บาท)6 หน่วยกิต (7,500 บาท)4246,000 3,850
218 หน่วยกิต (19,250 บาท)18 หน่วยกิต (19,250 บาท)6 หน่วยกิต (7,500 บาท)4246,000 3,850
318 หน่วยกิต (19,250 บาท)15 หน่วยกิต (19,250 บาท)7 หน่วยกิต (7,500 บาท)4046,000 3,850
รวมทั้งสิ้น 124 หน่วยกิต138,000138,600

สำหรับผู้ที่จบการศึกษาระดับ ปวส. หรือปริญญาตรีใบที่ 2 และ เทียบโอน​

กรณีที่ภาคต้นภาคปลายภาคฤดูร้อนรวมหน่วยกิตรวมค่าใช้จ่ายแบ่งชำระรายเดือน
121 หน่วยกิต (32,500 บาท)21 หน่วยกิต (32,500 บาท)9 หน่วยกิต (13,000 บาท)5178,0006,500
2เพิ่ม 1 Block # จำนวน 52-60 หน่วยกิต (10,000 บาท)988,0006,500
3เพิ่ม 1 Block # มากกว่า 61 หน่วยกิต (10,000 บาท)98,0006,500
รูปแบบการเรียนการสอน

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎จัดการเรียนการสอนแบบระบบการศึกษาทางไกล (ปีการศึกษา 1 /2564)

ช่องทางการติดต่อ

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชนระหว่างประเทศ (ระบบการศึกษาทางไกล)

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนเป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญที่จะช่วยในการวางแผน สนับสนุน การควบคุมทิศทางการไหลเวียนของกิจกรรมต่างๆของสินค้าและบริการซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การจัดการคลังสินค้า บริหารต้นทุน การขนส่ง ไปจนถึงมือผู้บริโภคหรือผู้ใช้ปลายทางคนสุดท้าย

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎จุดเด่นสาขาวิชา

‎‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ปัจจุบันอุตสาหกรรมด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจระหว่างประเทศ ในอนาคตธุรกิจโลจิสติกส์จะเป็นธุรกิจที่เชื่อมโยงซัพพลายเชนที่ใหญ่ระดับโลก แต่ในขณะเดียวกันการกระจายสินค้าที่เล็กลงยิ่งมีความสำคัญมากขึ้น โดยที่เน้นเรียนตามความต้องการของสถานประกอบการ ร่วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนารายวิชาเรียน เน้นภาคปฏิบัติ เพื่อให้ออกไปทำงานได้ทันที

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎โครงสร้างรายวิชา

‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 124 หน่วยกิต

หมวดวิชาหน่วยกิต
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30

1.1 กลุ่มสาระวิชาภาษาและการสื่อสาร

12

1.2 กลุ่มสาระวิชาการคิดคำนวณ และวิทยาศาสตร์และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

6

1.3 กลุ่มสาระวิชาทักษะการพัฒนาการเป็นผู้เรียนรู้

6

1.4 กลุ่มสาระวิชาทักษะการเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ

6

1.5 กลุ่มสาระวิชาเลือกศึกษาเรียนรู้

เลือกเรียนตามความสนใจ
2. หมวดวิชาเฉพาะ88

2.1 วิชาแกนธุรกิจ

30

2.2 วิชาเอกบังคับ

42

2.3 วิชาเอกเลือก

9

2.4 วิชาพื้นฐานวิชาชีพและวิชาชีพ

7

3.หมวดวิชาเลือกเสรี6

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎แผนการศึกษา

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎Download ไฟล์เอกสารได้ที่นี่

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎คณาจารย์

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎หลักสูตรเหมาะกับใคร

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ทุกอาชีพต้องใช้หลักวิชาโลจิสติกส์ ที่เด่นชัดคือ ขนส่งสินค้า คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า การนำเข้าส่งออกสินค้า และโรงงานอุตสาหกรรม

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • ตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ(Freight Forwarder)
  • เจ้าหน้าที่วางแผนการผลิต (Production Planning Officer)
  • เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ (Purchasing) เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดหา (Procurement) 
  • นักวิเคราะห์โลจิสติกส์ (Logistics Analyst)
  • เจ้าหน้าที่ประสานงานขนส่ง (Logistics Coordinator) 
  • เข้ารับราชการ เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี , กรมการขนส่งทางบก, กรมศุลกากร

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ค่าใช้จ่ายของหลักสูตร

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ สอบถามผ่านช่องทางติดต่อ

ค่าใช้จ่าย สำหรับหลักสูตรแบบการศึกษาทางไกล (Online) แบ่งเป็น

  • ผู้ที่จบ ม. 6 หรือ ปวช. เหมาจ่าย ตลอดหลักสูตร 138,000 บาท
  • ผู้ที่จบ ปวส. หรือปริญญาตรีใบที่ 2 เหมาจ่ายตลอดหลักสูตร 78,000 บาท

สำหรับผู้ที่จบการศึกษาระดับ ม.6 และ ปวช.

ชั้นปีที่ภาคต้นภาคปลายภาคฤดูร้อนรวมหน่วยกิตรวมค่าใช้จ่ายแบ่งชำระรายเดือน
118 หน่วยกิต (19,250 บาท)18 หน่วยกิต (19,250 บาท)6 หน่วยกิต (7,500 บาท)4246,000 3,850
218 หน่วยกิต (19,250 บาท)18 หน่วยกิต (19,250 บาท)6 หน่วยกิต (7,500 บาท)4246,000 3,850
318 หน่วยกิต (19,250 บาท)15 หน่วยกิต (19,250 บาท)7 หน่วยกิต (7,500 บาท)4046,000 3,850
รวมทั้งสิ้น 124 หน่วยกิต138,000138,600

สำหรับผู้ที่จบการศึกษาระดับ ปวส. หรือปริญญาตรีใบที่ 2 และ เทียบโอน

กรณีที่ภาคต้นภาคปลายภาคฤดูร้อนรวมหน่วยกิตรวมค่าใช้จ่ายแบ่งชำระรายเดือน
121 หน่วยกิต (32,500 บาท)21 หน่วยกิต (32,500 บาท)9 หน่วยกิต (13,000 บาท)5178,0006,500
2เพิ่ม 1 Block # จำนวน 52-60 หน่วยกิต (10,000 บาท)988,0006,500
3เพิ่ม 1 Block # มากกว่า 61 หน่วยกิต (10,000 บาท)98,0006,500

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎รูปแบบการเรียนการสอน

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎จัดการเรียนการสอนแบบระบบการศึกษาทางไกล (ปีการศึกษา 1 /2564)

‏‏‎ ‎‏‏‎ ‎ช่องทางการติดต่อ

เรียนภาษาจีนฟรี ได้ที่มหาวิทยาลัยเกริก

ได้ทั้งความรู้ ประสบการณ์ และทักษะวิชาชีพ 

เรียนภาษาจีนฟรี ได้ที่มหาวิทยาลัยเกริก

ได้ทั้งความรู้ ประสบการณ์ และทักษะวิชาชีพ 

Scroll to Top